พินัยกรรมธรรมดา กับพินัยกรรมฝ่ายเมือง ต่างกันอย่างไร

พินัยกรรม

14 พฤศจิกายน 2566

พินัยกรรมธรรมดา vs พินัยกรรมเอกสารฝ่ายเมือง

 

เรื่อง

พินัยกรรมธรรมดา

พินัยกรรมฝ่ายเมือง

การทำพินัยกรรม

•ต้องทำเป็นหนังสือ

โดยจะเขียนหรือพิมพ์ก็ได้

•ยื่นคำร้องขอให้กรมการ

อำเภอเป็นผู้จัดทำให้ตามวัตถุประสงค์ของผู้ทำ

การลงลายมือชื่อ

•ผู้ทำ: ลงลายมือชื่อไว้

ต่อหน้าพยาน

ห้าม ใช้ตราประทับ หรือเครื่องหมายแกงใด

•พยาน : พยานอย่าง

น้อย 2 คนลงลายมือชื่ออย่างเดียวเท่านั้น

•ผู้ทำพินัยกรรมและ

พยานอย่างน้อย 2 คนลงลายมือชื่อ

•นายอำเภอลงลายมือ

ชื่อ และ ลงวัน เดือน ปี จดลงไว้ด้วยตนเอง แล้วประทับตราตำแหน่ง

การแก้ไขเปลี่ยนแปลง

•ไม่สมบูรณ์ เว้นแต่

ผู้ทำลงลายมือชื่อ ต่อหน้าพยานอย่างน้อยสองคนพร้อมกัน และพยานอย่างน้อยสองคนนั้นต้องลง ลายมือชื่อรับรองลายมือชื่อของผู้ทำพินัยกรรมในขณะนั้น

•ไม่สมบูรณ์ เว้นแต่ผู้ทำ

ลงลายมือชื่อ ต่อหน้าพยานอย่างน้อยสองคน

•พยาน และนายอำเภอ

ต้องลง ลายมือชื่อรับรองลายมือชื่อของผู้ทำพินัยกรรมในขณะนั้น

การถอนพินัยกรรม

การถอนพินัยกรรมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน สามารถทำได้โดยการทำพินัยกรรมฉบับใหม่ ด้วยวิธีการเดิม

Copyright ©2024  dharmniti.co.th All rights reserved.

Log in with your credentials

Forgot your details?