“ให้โดยเสน่หา” บันทึกบัญชีอย่างไร

“ให้โดยเสน่หา” บันทึกบัญชีอย่างไร

แม้จะ “ให้โดยเสน่หา” แต่ในมุมของการทำบัญชี ทั้งผู้ให้และผู้รับต่างก็มีหน้าที่ต้องบันทึกรายการอย่างถูกต้องและโปร่งใส ไม่ว่าจะเป็นเงินสด สินทรัพย์ หรือแม้แต่บริการที่ไม่มีการเรียกเก็บเงิน บทความนี้สรุปหลักการบัญชีที่ควรรู้ พร้อมแนวทางบันทึกที่ชัดเจนทั้งสองฝั่ง

การให้โดยเสน่หา บันทึกบัญชีอย่างไร?

ฝั่งผู้รับ

สินทรัพย์หรือเงินสด : บันทึกเป็นรายได้จากการบริจาค (Donated Revenue) / ต้องใช้มูลค่าตามราคาตลาดที่เป็นธรรม (Fair Value)
สินทรัพย์ถาวร : ต้องบันทึกเป็นสินทรัพย์ / รับรู้ค่าเสื่อมราคาตามอายุการใช้งาน
วัตถุดิบหรือสินค้า : บันทึกเป็นสินค้าคงเหลือหรือวัสดุสิ้นเปลือง / รับรู้เป็นรายได้
บริการที่ได้รับโดยไม่คิดมูลค่า : พิจารณาว่ามีภาระผูกพันที่ต้องบันทึกบัญชีหรือไม่

ฝั่งผู้ให้

การให้เงินสดหรือสินทรัพย์ : ให้บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายบริจาค (Donation Expense)
สินทรัพย์ถาวร : ต้องลบมูลค่าของสินทรัพย์ออกจากบัญชีสินทรัพย์ของบริษัท
สินค้า : อาจต้องรับรู้เป็นต้นทุนขายหรือรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายบริจาค

อ่านเพิ่มเติมใน CPD&Account ฉบับเดือนเมษายน 2568 
พร้อมบทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ โดยนักเขียนมากประสบการณ์

อ่านบทความอื่นๆ
“การให้โดยเสน่หา” หลักกฎหมาย และประเด็นทางกฎหมาย
ครบเครื่องเรื่องสัญญาจ้างงาน Influencer 
จัดการสินสมรสอย่างไร? ให้หมดปัญหาชีวิตคู่ในอนาคต 

 

Copyright ©2025  dharmniti.co.th All rights reserved.

Log in with your credentials

Forgot your details?