ภาษีคริปโตฯ สายเทรด สายขุด สายรับ คำนวณและจ่ายภาษีอย่างไร?

28 ตุลาคม 2565

 

อยากลงทุนในกลุ่ม Cryptocurrency ต้องรู้รอบด้าน และเมื่อมีข้อกำหนดเกี่ยวกับการเก็บภาษีเหรียญดิจิทัลมาแล้ว ก็เลี่ยงไม่ได้ที่นักลงทุนจะต้องศึกษารายละเอียดและทำความเข้าใจ ซึ่งวันนี้เราก็มีวิธีคำนวณภาษีสำหรับสายเทรด สายขุด และสายรับ มาให้ลองคำนวณกัน เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนภาษีกันต่อไป

 

คู่มือการคำนวณภาษีคริปโตฯ มีอะไรบ้าง?

การจัดหมวดหมู่ประเภทเงินได้

•  การจำหน่าย จ่าย โอน แลกเปลี่ยน

•  การขุด

•  ได้รับเป็นเงินเดือนหรือค่าจ้าง

•  ได้รับจากการให้/ได้รับเป็นรางวัล

•  ได้รับผลประโยชน์/ผลตอบแทนจากการถือครอง

 

การวัดมูลค่า

ให้ใช้มูลค่า ณ เวลาที่ได้มา/ราคาถัวเฉลี่ยในวันที่ได้มา โดยยึดตามราคาที่ประกาศโดย Exchange ภายใต้การกำกับของ ก.ล.ต.

 

วิธีการคำนวณ

 1.  วิธีเข้าก่อนออกก่อน (FIFO)

การคำนวณต้นทุน โดยคริปโตฯ/โทเคนดิจิทัล ที่ซื้อมาก่อน จะขายออกก่อน ตามลำดับ

 2.  วิธีต้นทุนถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่ (The moving average cost)

*ต้นทุนรวม = (จำนวนเหรียญxมูลค่า) + …..

เลือกได้วิธีใดวิธีหนึ่ง โดยต้องใช้วิธีที่เลือกไปตลอดปีภาษี และสามารถเปลี่ยนวิธีคำนวณในปีถัดไปได้

 

ตัวอย่างการคำนวณ วิธีเข้าก่อนออกก่อน (FIFO)

 

Step 1 การคิดต้นทุนต้องนำ รายการซื้อครั้งที่ 1 มาคิดเป็นลำดับแรก

 

 

Step 2 นำรายการขายครั้งที่ 1 มาหักลบกับต้นทุนตาม Step 1 จะออกมาเป็นผลกำไร/ขาดทุนในการขายครั้งนั้น

Step 3 หากมีการขายในครั้งต่อไป ให้นำเหรียญจำนวน 4 เหรียญที่เหลือจากรายการซื้อครั้งที่ 1 มาคำนวณเป็นต้นทุนเป็นลำดับแรกก่อน

หากมีคริปโทฯ/โทเคนดิจิทัลหลายประเภท ให้คำนวณต้นทุนแยกตามประเภทคริปโทฯ/โทเคนดิจิทัลนั้นๆ

 

ตัวอย่างการคำนวณ วิธีต้นทุนถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่

 

Step 1 นำรายการซื้อครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2 มาคิดเป็นต้นทุนถัวเฉลี่ย (ต่อเหรียญ)

Step 2 นำต้นทุนถัวเฉลี่ย x จำนวนเหรียญที่ขายครั้งที่ 1 และนำจำนวนเงินรายการขายครั้งที่ 1 มาหักลบกัน ผลที่ได้จะเป็นผลกำไรขาดทุนในการขายครั้งนั้น

หากมีคริปโทฯ/โทเคนดิจิทัลหลายประเภท ให้คำนวณต้นทุนแยกตามประเภทคริปโทฯ/โทเคนดิจิทัลนั้นๆ

 

ประเภทเงินได้

 1.  สาย Trade

     1.1  ซื้อขาย ส่วนที่ได้เกินมาจากต้นทุน ถือเป็นเงินได้ ตาม ม.40(4)(ฌ)

   •  กำไรทั้งหมด – ผลขาดทุนทั้งหมด ในปีภาษีเดียวกัน

   •  การกำหนดต้นทุนสามารถรวมค่าใช้จ่ายต่างๆ ได้ เช่น ค่าธรรมเนียม/ค่าโอน

   •  เหรียญที่อยู่ใน Exchange ยังไม่นับเป็นเงินได้หากเหลืออยู่ในรอบสิ้นปีภาษี ให้นำไปเป็นต้นทุนในปีภาษีถัดไป

   •  เฉพาะสำหรับการ Trade จาก Exchange ที่ขึ้นทะเบียนกับ ก.ล.ต.

     1.2  แลกเปลี่ยนเป็นเงินได้ ตาม ม.40(4)(ฌ)

   •  เหรียญที่แลก (คิดตามราคาตลาด) มีมูลค่า > มูลค่าเหรียญที่มีอยู่ (ต้นทุนเดิม) ให้ส่วนต่างนั้น ถือเป็นเงินได้

 

ตัวอย่าง

 

 2.  สายขุด

 

 3.  สายได้รับ

      3.1  จากการให้/รับรางวัล

 

      3.2  เป็นเงินเดือน/ค่าจ้าง

 

      3.3  ผลประโยชน์/ผลตอบแทน จากการถือครอง

Copyright ©2024  dharmniti.co.th All rights reserved.

Log in with your credentials

Forgot your details?